วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรมพิเศษ (สอบสอน)


                                                          บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

                                          วัน/เดือน/ปี.11..พฤษภาคม..2558..


                วันนี้เป็นการสอบสอน การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

หน่วย ผักสดสะอาด



การประเมินตนเองหลังการสอน

  1. มีการเตรียมความพร้อมเป็นอย่างดีก่อนสอน
  2. เตรียมอุปกรในการสอนมาครบ
  3. มีการเรียนลำดับการสอนเป็นอย่างดี
  4. อธิบายกิจกรรมพิเศษได้ละเอียด
  5. คือดีงานค่ะ


บันทึกอนุทินครั้งที่14


                                                            บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

            วัน/เดือน/ปี.30..เมษายน..2558..ครั้งที่..14..เวลาเรียน..13.30-17.30..... น


สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้

               การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการจัดนิทรรศการศิลปะ เป็นการนำผลงานศิลปะที่หลากหลายชิ้นงาน มารวบรวมโชว์ให้สวยงาม บรรยากาศในการจัดงานก็เป็นไปอย่างราบรื่น ทุกคนในห้องช่วยกันจัดงาน และภาพวันนั้นก็ออกมาสวยงาม เพราะความสามัคคีของทุกคนค่ะ

                                    ภาพบรรยากาศขณะจัดนิทรรศการ



                            ภาพบรรยากาศของนิทรรศการศิลปะกลุ่มเรียน 104





 
   


มุมสอนศิลป์



พลังยิ้มค่ะ

โฉมหน้าผู้ได้รับราววัลเด็กดีค่ะ


                                                   หมวกหมีน้อยจากรายการ สอนศิลป์

 
อุปกรณ์ 

  1. กระดาษโปสเตอร์แข็ง
  2. กรรไกร
  3. กาว
  4. คลิปหนีบกระดาษ
  5. กระดาษสี
  6. ดินสอ                                                          


  วิธีการทำหมวก

  1. นำกระดาษมาวัดความยาวรอบศรีษะ จากนั้นตักออก
  2. วัดฐานของหมวกตรงขอบกระดาษขึ้นไป 2  นิ้ว
  3. วัดจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุดให้มีจำนวนเส้น 31 เส้น ระยะห่างพอประมาณ
  4. ตัดตามเส้นตรงที่ตามร่าวไว้ โดยต้นเว้นช่อง
  5. สานหมวยสลับข้างไปมาโดยเริ่มจากมุมหนึ่ง ทากาว แล้วใช้คลิปหนีบไว้ จากนั้นเริ่มจากฝั่งที่ใช้คลิปหนีบ ทำแบบนี้สลับไปมาจนครบทุกเส้น
  6. ตกแต่งหน้าตาหมวยของตนเองตามจินตนาการโดยใช้กระดาษสีต่างๆ
ประโยชน์ของหมวก
  1. ใช้สำหรับแสดงนิทาน
  2. ทำเพื่อให้เป็นรวงวัลแก่เด็ก
  3. สามารถใส่ในกิจกรรมต่างๆ 
  4. อื่นๆ

ประโยชน์ที่ได้รับและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
จากการเรียนวิชาศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย


จากการจัดนิทรรศการ
  1. ได้รู้เทคนิคและวิธีการในการโชว์ผลงานศิลปะที่ถูกต้อง
  2. ได้รู้วิธีการจัดมุมต่างๆให้สวยงาม
  3. ได้แนวทางในการทำงานศิลปะในอนาคต
  4. รู้เทคนิคการเรียงผลงานให้สวย
  5. ต้องปรับปรุงตนเองในด้านงานฝีมือการจับผ้า เพราะครูอนุบาลต้องทำเป็นทุกอย่าง
จากการเรียนการสอนตลอดทั้งเทอม

            จากการเรียนวิชาศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยตลอดทั้งเทอม ได้ความรู้เยอะแยะมากมายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการทำงานศิลปะ  ประเภทของกระดาษ การเลือกใช้กระดาษและสีให้เหมาะกับงาน  การใช้สีผสมอาหารเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย การนำกระดาษหนังสือพิมพ์หรือกระดาษที่เหลือใช้มาทำงานศิลปะ หรือแม้กระทั้งการนำเอาวัสดุเหลืิใช้มาทะเป็นงานศิลปะเพื่อเพิ่มมูลค่าและคุณค่าของชิ้นงานให้ดูดีมากยิ่งขึ้น การจัดกิจกรรมศิลปะสำหรับเด็กปฐมวันนั้นส่้วนตัวก่อนเรียนคิดว่ายาพ เพราะจะต้องเลอะเทอะ ไม่เอา ไม่ชอบ แต่พอไ้ลงมือปฏิบัติจริงขณะทำกิจกรรมในห้องนี่ชอบเลยค่ะ ขนาดโตแล้วยังชอบเด็กจะขนาดไหน เพราะการทำงานศิลปะทำให้เพลิดเพลิน ไม่เครียด แต่บางครั้งก็เครียดมากกว่าเดิม อิอิ... ขณะทำกิจกรรมศิลปะภายในห้องก็พอมองภาพการเรียนการสอนของเด็กออกว่าเราจะนำเอาอะไรบ้างไปสอนเด็ก  เพียงแค่ครูมีไอเดียดีๆ ที่จะมาจัดกิจกรรมให้เด็ก เด็กก็จะเกิดการเรียนรู้มากเลยทีเดียว  
        จากกิจกรรมทั้งหมดที่ได้ทำในห้อง หนูจำได้ขึ้นใจเลยค่ะ โดยเฉพาะการสอน นี่ง่ายมาก แต่ไม่รู้ว่าถ้านำไปสอนจริงกับเด็กจะง่ายเหมือนสอนเพื่อนหรือเปล่านะคะ แต่ไม่ว่าอย่างไรก็จะทำให้ดีที่สุดค่ะ จะนำวิชาความรู้ที่อาจารย์มอบให้ไปถ่ายทอดหรือจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยได้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างสูงที่สุดเลยค่ะ^____^


การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง

  1. เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียนร้อย
  2.  ขณะทำกิจกรรมก็ตั้งใจทำ 
  3. ช่วยเหลืออาจารย์และเพื่อนในการยกของเก็บของ
  4. เตรียมอุปกรณ์ในการจัดนิทรรศการมาพร้อมโชว์ค่ะ
ประเมินเพื่อน
  1. มาเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย
  2. ช่วยกันจัดงาน
  3. มีความสามัคคีกันเป็นอย่างดี
  4. ให้ความร่วมมือกับเพื่อนขณะทำกิจกรรม

ประเมินอาจารย์

           ตลอดทั้งเทอมในการเรียนการสอน อาจารย์มาสอนตลอด ไม่เคยขาด ไม่ขายสาย เรียนแบบเต็มที่เต็มเวลา และแต่งกายแป๊ะตลอดดด  อาจารย์มอบความรู้ให้นักศึกษาอย่างเต็มที่ คอยให้คำปรึกษา แนะแนวทางตลอด คอยอำนวยความสะดวกในเรื่องของอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม คอยแนะนำและเทคนิคการทำกิจกรรมต่างๆ และแนะนำในการนำเสนองาน หรือการออกมาสอน ขอบพระคุณ อ. บาส มากๆนะคะที่คอยอบรม ชี้แนะ และมอบความรู้ให้กับกับพวกเรามาโดยตลอดทั้งเทอม



วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13


                                                     บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

            วัน/เดือน/ปี.21..เมษายน..2558..ครั้งที่..13..เวลาเรียน..13.30-17.30..... น


สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้

          การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการทดลองสอนของแต่ละกลุ่ม การสอนศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัยง่ายแต่ครูต้องอธิบายกิจกรรมให้เด็กฟังอย่างละเอียดโดยเฉพาะกิจกรรมพิเศษ
          ขั้นแรกคือ ครูเก็นเด็กให้อยู๋ในความสงบ จากนั้นแนะนำกิจกรรมที่จัดทำในวันนี้ สิ่งสำคัญในการแนะนำกิจกรรมคือ ครูต้องแนะนำกิจกรรมพิเศษให้เด็กฟังอย่างละเอียด พร้อมบอกวิธีการทำ ขั้นต่อมา ให้เด็กลงมือทำกิจกรรมต่างๆตามโต๊ะที่ครูจัดไว้ โดดยครู ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด และเดินดูให้ครบทุกโต๊ะ ขั้นสุดท้าย เมื่อเด็กทำกิจกรรมครอบหมดแล้ว ครูให้เด็กช่วยกันเก็บของ ทำความสะอาด จากนั้นให้เด็กแต่ละคนออกมานำเสนอผลงานของตนเอง
          โดยกิจกรรมการสอนศิลปะในวันนี้แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม มีหน่วยการเรียนรู้ดังนี้

  • กลุ่มที่ 1 หน่วย กล้วย
กิจกรรม
  1. วาดภาพด้วยสีเทียน
  2. วาดภาพด้วยสีน้ำ
  3. การตัดปะ
  4. การขยำกระกระดาษ  (กิจกรรมพิเศษ)

  • กลุ่มที่ 2 หน่วยปลา 
กิจกรรม
  1. วาดภาพด้วยสีเทียน
  2. วาดภาพด้วยสีน้ำ
  3. การปั้นดินน้ำมัน
  4. กิจกรรมเปเปอร์มาเช่ (กิจกรรมพิเศษ)



  • กลุ่ม 3 หน่วย นก
กิจกรรม
  1. วาดภาพด้วยสีเทียน
  2. การตัดปะ
  3. การปั้น
  4. กิจกรรมประดิษฐ์นกน้อย (กิจกรรมพิเศษ)


  • กลุ่มที่ 4 หน่วย ผลไม้
กิจกรรม
  1. วาดภาพด้วยสีไม้
  2. การฉีกปะ
  3. การตัดแปะ
  4. กิจกรรมประดิษฐ์โมบายจานกระดาษ  (กิจกรรมพิเศษ)


  • กลุ่มที่ 5  หน่วย ดอกไม้
กิจกรรม
  1. วาดภาพด้วยสีน้ำ
  2. วาดภาพด้วยสีเทียน
  3. การปั้น
  4. การขยำกระดาษ (กิจกรรมพิเศษ)






ประโยชน์ที่ได้รับและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

  1. ได้รู้จักการสอนที่ถูกต้อง
  2. ไ้ประสบการณ์ตรงจากที่ดูเพื่อนสอนและจากที่อาจารย์แนะนำเพิ่มเติม
  3. เมื่อดูวิธีการสอนจากเพื่อนแล้วทำให้กล้าที่จะเป็นคนสอนเอง
  4. ทำให้เห็นจุดเด่นและจุดด่อยในการสอน ทำให้สามารถนำจุดด่อยไปพัฒนา
  5. นำเทคนิคการสอนไปใช้กับรายวิชาอื่นๆ
  6. เมื่อได้ลงมือปฏิบัติจริงทำให้มีความกล้าที่จะลงมือทำกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น
  7. เห็นภาพในการสอนศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น

การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง
  1. แต่งกายเรียนร้อย
  2. ตั้งใจเรียนและตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียน
  3. มาเรียนตรงต่อเวลา
  4. เตรียมการสอนร่วมกับเพื่อนในกลุ่มมาเป็นอย่างดี
  5. เตรียมอุปกรณ์ในการสอนมาเรียนร้อย
ประเมินเพื่อน
  1. มาเรียนตรงเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. นำเสนอการสอนได้ดี
  4. ให้ความร่วมมือกับเพื่อนขณะทำกิจกรรม
ประเมินอาจารย์
  1. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
  2. มาสอนตรงต่อเวลา
  3. มีข้อเสนอแนะให้ทุกกลุ่มอย่างละเอียด
  4. อธิบายเพิ่มเติมให้กับทุกคนเมื่อมีข้อผิดผลาด
  5. แนะนำหลังหล้งจากที่แต่ละกลุ่มทดลองสอนดี เข้าใจ
  6. ชอบการทดลองสอนก่อน เพราะทำให้เรารู้เทคนิดและวิธีการสอนที่ถูกต้อง


วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่12


                                                        บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

            วัน/เดือน/ปี.7..เมษายน..2558..ครั้งที่..12..เวลาเรียน..13.30-17.30..... น


สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้

           การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการออกมานำเสนอแผนการสอนของแต่ละคน โดยของดิฉันทำหน่วยเรื่อง นกน้อย โดยมีแผนการสอนศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย 5 วัน ดังนี้





  • แผนการสอนของแต่ละคนก็แตกต่างกันออกไป มีทั้งผิดและถูกอาจารย์ก็ได้ให้ข้อเสอแนะและคำแนะนำในการปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว
  • การเขียนประสบการณ์สำคัญไม่ควรเขียนเยอะเกินไป เขียนในสิ่งที่สำคัญและเหมาะสมกับกิจกรรมที่จัด
ประโยชน์ที่ได้รับและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  1. ได้รู้วิธีการเขียนแผนอย่างถูกต้อง
  2. ได้รู้หลักการเขียนแผนอย่างถูกวิธี
  3. เข้าใจการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัยมากยิ่งขี้น
  4. นำวิธีการเขียนแผนไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่น
การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง
  1. มาเรียนตรงต่อเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. นำเสนอแผนการสอนของตนเองได้ดี
  4. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินเพื่อน
  1. มาเรียนตรงเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. นำเสนอแผนการสอนได้ดี
ประเมินอาจารย์
  1. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
  2. มาสอนตรงต่อเวลา
  3. มีข้อเสนอแนะให้ทุกตนอย่างละเอียด
  4. อธิบายเพิ่มเติมใหเกับทุกคนเมื่อเขียนผิด



บันทึกอนุทินครั้งที่11


                                                        บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

            วัน/เดือน/ปี.31..มีนาคม..2558..ครั้งที่..11...เวลาเรียน..13.30-17.30..... น


สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้

                 การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการเรียนเรื่อง การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

จุดประสงค์ของการเขียนแผนการจัดประสบการณ์
เพื่อผู้สอน

  1. วางแผนล่วงหน้าในการจัดกิจกรรมร่วมกับเด็กได้เมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย
  2. นำแผนการจัดประสบการณ์ไปใช้ในการจัดกิจกรรมประจำวันให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
  • การเขียนแผนต้องดูประสบการณ์สำคัญในหลังสูตรการศึกษาปฐมวัยแล้วนำมาใส่ให้ตรงตามเรื่องที่สอนให้ครบทั้ง 4  ด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
การเขียนแผนการจัดประสบการณ์

ขั้นที่ 1 เลือกเรื่อง 
  • สังเกตจากความสนใจ ความต้องการของเด็กตามสภาพจริง
  • เรื่องต้องชัดเจน ไม่กว้างเกินไป เชื่อมโยงกับเรื่องอื่นๆ
  • ไม่ควรเลือก สัตว์ คมนาคม
ขั้นที่ 2 ระดมความคิด
  • สิ่งที่เด็กรู้แล้ว
  • สิ่งที่เด็กต้องการรู้
  • สิ่งที่เด้กควรรู้
ขั้นที่ 3 คิดกิจกรรม
  • เคลื่อนไหว
  • ศิลปะ (กิจกรรมสร้างสรรค์)
  • กิจกรรมเสรี (การเล่นตามมุม)
  • เสริมประสบการณ์
  • กิจกรรมเล่นกลางแจ้ง
ขั้นที่ 4 จัดกิจกรรมตามพัฒนาการ
ขั้นที่ 5 จัดทำแผนการจัดประสบการณ์

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  1. ใช้ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย
  2. ใช้เป็นแนวทางในการเขียนแผนศิลปะและแผนในรายวิชาอื่นๆ
  3. ใช้ในการเขียนแผนศิลปะให้ถูกต้องตามหลักการ
การประเมินการเรียนการสอน
ประเมินตนเอง
  1. แต่งกายเรียบร้อย
  2. เข้าเรียนตรงเวลา
  3. ตั้งใจฟังอาจารย์สอน
  4. จดบันทึกขณะเรียน
ประเมินเพื่อน
  1. เข้าเรียนตรงเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและตั้งใจจดบันทึก
ประเมินอาจารย์
  1. เข้าสอนตรงต่อเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. ตั้งใจสอนและให้คำแนะนำเสมอ
             กิจกรรมพิเศษ ผลงานศิลปะการปั้นนูนต่ำจากดินน้ำมันใส่กล่อง CD

ภาพ ราตรีเริงระบำ

                   ใช้ดินน้ำมันสีต่างๆปั้นเป็นรูปตามจินตนาการ เมื่อเสร็จแล้วใส่น้ำยาทาเล็บเคลือบเพื่อเพิ่มความเงางามของภาพยิ่งขึ้น



        กิจกรรมเพิ่มเติมจากการเรียน คือ จัดแสตนเชียร์ของเอกการศึกษาปฐมวัย









วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10


                                                               บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

            วัน/เดือน/ปี.24..มีนาคม..2558..ครั้งที่..10...เวลาเรียน..13.30-17.30..... น


สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้

         การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการทำงานศิลปะผสม โดยนำเทคนิคการทำงานศิลปะประเภทต่างๆที่ได้เรียนมา มารวมทำเป็นผลงานศิลปะ 1 ชิ้น ,  ศิลปะใบไม้ เป็นการนำใบไม้ลักษณะต่างๆไปทับให้แห้ง แล้วนำมาทำงานศิลปะเป็นรูปหรือเรื่องราวต่างๆตามจินตนาการ และ ศิลปะเปเปอร์มาเช่

         ชิ้นที่ 1ศิลปะเปเปอร์มาเช่  ทำจากกระดาษทิชชู่ ทำได้หลายแบบ  คือ นำกระดาษทิชชู่ไปแช่น้ำให้ชุ่มแล้วบิดน้ำออก จากนั้นฉีกเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วนำไปชุบกับสีผสมอาหารสีต่างๆที่เตรียมไว้ จากนั้นบิดให้หมาดๆ แล้วเทกาวลง ขยำให้ทั่วกระดาษทิชชู่  จากนั้นจับดูว่าหนึบๆไหม ถ้าหนึบแสดงว่าใช้ได้
ต่อไปก็ลงมือทำ ร่างรูปไว้แล้วใช้ไม้จิ้มฟัม จิ้มๆๆที่รูป ใส่สีตามจินตนาการ

วิธีการเตรียม
วิธีการทำ

ชื่อผลงาน นกฮูกแสนรู้ ผีเสื้อแสนรัก

ผลงานเปเปอร์มาเช่

          ชิ้นที่ 2 ศิลปะผสม โดยนำเทคนิคการทำงานศิลปะประเภทต่างๆที่ได้เรียนมา ไม่ว่าจะเป็นการพับกระดาษ การใช้สีน้ำ การฉีกปะ อื่นๆ  มารวมทำเป็นผลงานศิลปะ 1 ชิ้น ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์





            ชิ้นที่ 3  ศิลปะใบไม้ เป็นการนำใบไม้ลักษณะต่างๆไปทับให้แห้ง แล้วนำมาทำงานศิลปะเป็นรูปหรือเรื่องราวต่างๆหรืออาจจะต่อเติมรูปร่างตามจินตนาการ




การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้

  1. ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย
  2. ใช้ทำสื่อการสอนในการเรียน
  3. ใช้ในการจัดตกแต่งบอร์ด
  4. บูรณาการเข้ากับวิชาอื่น
  5. ใช้เป็นตัวอย่างในการพัฒนาผลงานศิลปะของตนเองในอนาคต
  6. ไว้เป็นแบบในการทำงานศิลปะ
  7. นำไปเผยแพร่ให้ให้กับสาธารณะเพื่อเป็นประโยชน์ต่อคุณครูอนุบาลท่านอื่น


การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง
  1. เข้าเรียนตรงเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. นำอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมมาครบตามที่อาจารย์สั่ง
  4. ตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียน
  5. ทำกิจกรรมออกมาได้สวยงาม
  6. ตั้งใจทำกิจกรรมในห้อง
  7. มีความอดทนในการทำงานศิลปะแต่ละชิ้น
  8. มีน้ำใจในการเก็บกวาดห้องหลังทำกิจกรรมเสร็จ
ประเมินเพื่อน
  1. เข้าเรียนตรงเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. ตั้งใจทำกิจกรรมในห้องมาก
  4. เตรีมอุปกรณ์ในการทำงานศิลปะมาครบทุกกลุ่ม
  5. ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ประเมินอาจารย์
  1. เข้าสอนตรงเวลา
  2. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
  3. ตั้งใจหาอุปกรณ์มาให้นักศึกษาทำ
  4. เป็นที่ปรึกษาในขณะทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
  5. อำนวยความสะดวกได้ยอดเยื่ยม
  6. มีกิจกรรมศิลปะที่หลากหลายน่าสนใจ
  7. ขณะนักศึกษาทำงานศิลปะก็สนใจนักศึกษาเดินดูอยู่บ่อยๆ
  8. เข้าใจนักศึกษาขณะทำงาน
  9. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานศิลปะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9


                                                           บันทึกอนุทิน

                 วิชา การจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย

                                 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

            วัน/เดือน/ปี.17..มีนาคม..2558..ครั้งที่..9...เวลาเรียน..13.30-17.30..... น


สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้

         การเรียนการสอนในวันนี้เป็นการทำศิลปะ ประเภทสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้และจากแกนกระดาษทิชชู่ การทำโมบาย การร้อยสร้อยจากมักกะโรนี

  ชิ้นที่ 1 การร้อยสร้อยและกำไลจากเส้นมักกะโรนี  

ขั้นตอนการทำ
  1. เตรียมสีผสมอาหาร ผสมใส่น้ำ
  2. นำเส้นมักกะโรนีไปชุบสี  ไม่เกิน 10 วินาที
  3. ตากแดดไว้ให้แห้ง จากนั้นนำมาทำงานศิลปะได้







ชิ้นที่ 2 การประดิษฐ์จานกระดาษ นำกระดาษขนาดต่างๆมา ประดิษฐ์เป็นรูปต่างๆตามจินตนาการ

  

           ชิ้นที่ 3 การทำโมบาย จากวัสดุเหลือใช้ นำวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่มาประดับตกแต่งให้เป็นโมบายที่สวยงามตามจินตนาการ

     

             
            ชิ้นที่ 4 การประดิษฐ์จากแกนกระดาษทิชชู่  นำแกนกระดาษทิชชู่มาประดิษฐ์เป็นรูปหรือเรื่องราวต่างๆตามจินตนาการ



ชิ้นที่ 5  การประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้  นำวัสดุเหลือใช้ต่างๆมาประดิษฐ์เป็นรูป
หรือเรื่องราวต่างๆตามจินตนาการ


การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้
  1. นำเทคนิคการย้อมสีมักกะโรนีไปสอนศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย
  2. นำวัสดุเหลือใช้มาทำเป็นสื่อในการเรียนการสอน
  3. นำรูปแบบและเทคนิคการประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ไปทำสื่อการสอน
  4. ใช้ในการเตรียมวัสดุเหลือใช้ เช่น แกนทิชชู่เพื่อนำไปใช้สอนวิชาศิลปะในอนาคต
  5. นำไปต่อยอดบูรณาการกับวิชาอื่นๆ
  6. นำเทคนิคการทำงานศิลปะไปบอกหรือเผยแพร่ให้เพื่อนๆครู

การประเมินการเรียนการสอน

ประเมินตนเอง

  1. เข้าเรียนตรงต่อเวลา
  2. แต่งกายเรียบร้อย
  3. มีความรับผิดชอบนำอุปกรณ์ที่อาจารย์สั่งมา 
  4. ตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียน
  5. มีความอดทนและความพยายาม
ประเมินเพื่อน
  1. แต่งกายเรียบร้อย
  2. มาเรียนตรงเวลา
  3. เตรียมอุปกรณ์ในการทำงานศิลปะมาพร้อม
  4. ตั้งใจทำกิจกรรมในห้อง
ประเมินอาจารย์
  1. เข้าสอนตรงเวลา
  2. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
  3. ตั้งใจหาอุปกรณ์มาให้นักศึกษาทำ
  4. เป็นที่ปรึกษาในขณะทำกิจกรรมเป็นอย่างดี
  5. อำนวยความสะดวกได้ยอดเยื่ยม
  6. มีกิจกรรมศิลปะที่หลากหลายน่าสนใจ
  7. ขณะนักศึกษาทำงานศิลปะก็สนใจนักศึกษาเดินดูอยู่บ่อยๆ
  8. เข้าใจนักศึกษาขณะทำงาน
  9. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานศิลปะ